Iron Man Mark VI

วันอาทิตย์ที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

ารให้เหตุผล

การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญมีอยู่ 2 วิธี คือ
         3.1การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoningเป็นการสรุปผลในการค้นหาความจริงจากการสังเกต  หรือการทดลองหลายครั้งจากกรณีย่อยๆ แล้วนำมาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป ซึ่งข้อสรุปที่ไม่จำเป็นต้องถูกต้องทุกครั้ง
         3.2การให้เหตุผลแบบนิรนัย (Deductive Reasoning เป็นการนำสิ่งที่ยอมรับว่าเป็นจริงมาประกอบเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปจากสิ่งที่ยอมรับแล้ว
         การสรุปที่สมเหตุสมผล (Valid) คือ ข้ออ้างหรือเหตุที่เป็นจริงเป็นผลให้ได้ข้อสรุปที่ถูกต้องอ่านต่อ...
เซต  

เซต  เป็นคำที่ใช้บ่งบอกถึงกลุ่มของสิ่งต่างๆ และเมื่อกล่าวถึงกลุ่มใดแน่นอนว่าสิ่งใดอยู่ในกลุ่ม สิ่งใดไม่อยู่ในกลุ่ม เช่น
       เซตสระในภาษาอังกฤษ  หมายถึง  กลุ่มของอังกฤษ  a, e, i, o และ u
       เซตของจำนวนนับที่น้อยกว่า 10 หมายถึง  กลุ่มตัวเลข 1,2,3,4,5,6,7,8,และ9
        สิ่งที่ในเชตเรียกว่า  สมาชิก  ( element หรือ members )
การเขียนเซต
การเขียนเซตอาจเขียนได้ 2  แบบอ่านต่อ...


จำนวนนับ






สมบัติของจำนวนนับ
จำนวนที่ใช้ในชีวิตประจำวัน จำนวนแรกคือ 1 และจำนวนนับถัดไปจะเพิ่มขึ้นทีละ 1 เช่น 2, 3, 4, 5 เรื่อยๆ ไปไม่มีที่สิ้นสุด จำนวนเหล่านี้อาจเรียกเป็นจำนวนธรรมชาติ หรือจำนวนเต็มบวก
ตัวประกอบ 
ตัวประกอบของจำนวนนับใดๆ คือจำนวนนับที่หารจำนวนยับได้ลงตัวลองพิจารณาจากตารางต่อไปนี้

จากตารางสรุปได้ดังนี้…อ่านต่อ...

วันเสาร์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2557


ฟังก์ชั่น  (Functions)




ชนิดของฟังก์ชันธรรมดาเกิดจากที่ทั้งอาร์กิวเมนต์และค่าของฟังก์ชันเป็นตัวเลขทั้งคู่ ความสัมพันธ์ของฟังก์ชันมักจะเขียนในรูปสูตร และจะได้ค่าของฟังก์ชันมาทันทีเพียงแทนที่อาร์กิวเมนต์ลงในสูตร เช่น
f (x) =x^2
ซึ่งจะได้ค่ากำลังสองของ x ใดๆ
โดยนัยทั่วไปแล้ว ฟังก์ชันจะสามารถมีได้มากกว่าหนึ่งอาร์กิวเมนต์ เช่น
g (x,y) =xy อ่านต่อ...